อาชีพ วิศวกร
วิศวกร
วิศวกรรมศาสตร์คืออะไร
วิศวกรรมศาสตร์เป็นศาสตร์ที่ว่าด้วยการนำวิทยาการและนำความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ คิดค้น ออกแบบ
และประดิษฐ์สิ่งต่าง ๆ รวมทั้งการนำเอาทรัพยากรที่มีอยู่มาดัดแปลง
และปรับปรุงเพื่อยกระดับมาตรฐานการครองชีพของมนุษย์ให้ดีขึ้น การศึกษาด้านวิศวกรรมศาสตร์
ต้องมีพื้นฐานที่ดีทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์เป็นสำคัญ
และมีความถนัดเชิงวิศวกรรมเพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการ ซึ่งใช้เวลาทั้งหมดในการเรียน 5 ปี
ชั้นปีที่ 1 การเรียนการสอนจะอยู่ในหมวดวิชาพื้นฐานก่อนได้แก่ คณิตศาสตร์
(แคลคูลัส แลขาวิเคราะห์และสมการดิฟเฟอเรนเชียล )วิทยาศาสตร์ (ความร้อน แสง เสียงแม่เหล็กไฟฟ้าและวิชาพื้นฐานในบางส่วน
ชั้นปีที่ 2 – 4 เน้นหนักในภาควิชาพื้นฐานทางวิชาวิศวกรรม และวิชาเอก ซึ่งให้ความสำคัญทั้งใน
ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยเฉพะอย่างยิ่งภาคปฏิบัตินั้นต้องให้นักศึกษาได้มีประสบการณ์ในการประยุกต์ใช้งานและสามารถทำโครงการพิ เศษได้ เพื่อปลูกฝั่งให้มีวิจารณญาณของความเป็นช่างวิศวกรทุกคนควรมี สามารถแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่ต้องเผชิญได้อย่างมั่นใจอีกทั้งยังสามารถสร้างสรรค์ผลงานใหม่ ๆ ออกมาได้ ตลอดเวลาเพื่อให้มีส่วนสำคัญจะช่วยพัฒนาประเทศอีกทางหนึ่งผู้เรียนสามารถศึกษาวิชาที่ตนเองชอบได้ เช่น
1. สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ เป็นวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ การออกแบบ และสร้างสิ่งประดิษฐ์อุปกรณ์ที่นำเอาความรู้ทางด้านระบบดิจิตอลมาประยุกต์ใช้กับงานต่าง ๆ และวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับการใช้คอมพิวเตอร์
2. สาขาวิศวกรรมเคมี เป็นวิชาชีพที่เกี่ยวกับการออกแบบ จัดสร้างและกระบวนการโรงงานอุตสาหกรรมเคมีต่าง ๆ เช่น อุตสาหกรรมน้ำมัน ปิโตรเลียม พลาสติก ยาง กระดาษและสารเคมีพื้นฐานเช่น กรด ด่าง แก๊ส โดยศึกษาหลักการกระบวนการผลิตต่าง ๆ ที่ทำหนาที่ให้เกิดการเปลี่ยน แปลงในส่วนผสม สถานะ ภาวะ และลักษณะสมบัติของการผลิตไปเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพตามความต้องการอย่างปลอดภัยและประหยัด
3. สาขาวิศวกรรมเครื่องกล เป็นวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา วิเคราะห์และการออกแบบชิ้นส่วน เครื่องจักรและสิ่งประดิษฐ์ ออกแบบแปลนการติดตั้ง ควบคุมการใช้งานตรวจสอบ และบำรุงรักษาเครื่องจักรกล ระบบความเย็น ระบบปรับภาวะอากาศ และระบบประเภทท่อต่าง ๆ
4. สาขาวิศวกรรมเรือ เป็นวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา วิเคราะห์ การออกแบบ รวมทั้งการผลิตและการประกอบพาหนะทางน้ำต่าง ๆ ตลอดจนออกแบบระบบต่าง ๆ ภายในตัวเรือ เช่น ท่าเรือ อู่ต่อเรือ และวิชาชีพที่เกี่ยวกับสาขาอื่น ๆ เช่น วิศวกรรมโยธา เครื่องกล ไฟฟ้า อุตสาหกรรม
5. สาขาวิศวกรรมยานยนต์ เป็นวิชาที่เกี่ยวกับการนำเทคโนโลยีพื้นฐานความรู้ทางวิศวกรรมเครื่องกลมาประยุกต์ใช้ในด้านการออกแบบและด้านการผลิต มีความรู้เกี่ยวกับขั้นตอนการผลิตและรู้จักใช้เครื่องจักรอุปกรณ์ทันสมัยอย่างมีประสิทธิภาพ
วิศวกรรมศาสตร์คืออะไร
วิศวกรรมศาสตร์เป็นศาสตร์ที่ว่าด้วยการนำวิทยาการและนำความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ คิดค้น ออกแบบ
และประดิษฐ์สิ่งต่าง ๆ รวมทั้งการนำเอาทรัพยากรที่มีอยู่มาดัดแปลง
และปรับปรุงเพื่อยกระดับมาตรฐานการครองชีพของมนุษย์ให้ดีขึ้น การศึกษาด้านวิศวกรรมศาสตร์
ต้องมีพื้นฐานที่ดีทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์เป็นสำคัญ
และมีความถนัดเชิงวิศวกรรมเพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการ ซึ่งใช้เวลาทั้งหมดในการเรียน 5 ปี
ชั้นปีที่ 1 การเรียนการสอนจะอยู่ในหมวดวิชาพื้นฐานก่อนได้แก่ คณิตศาสตร์
(แคลคูลัส แลขาวิเคราะห์และสมการดิฟเฟอเรนเชียล )วิทยาศาสตร์ (ความร้อน แสง เสียงแม่เหล็กไฟฟ้าและวิชาพื้นฐานในบางส่วน
ชั้นปีที่ 2 – 4 เน้นหนักในภาควิชาพื้นฐานทางวิชาวิศวกรรม และวิชาเอก ซึ่งให้ความสำคัญทั้งใน
ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยเฉพะอย่างยิ่งภาคปฏิบัตินั้นต้องให้นักศึกษาได้มีประสบการณ์ในการประยุกต์ใช้งานและสามารถทำโครงการพิ เศษได้ เพื่อปลูกฝั่งให้มีวิจารณญาณของความเป็นช่างวิศวกรทุกคนควรมี สามารถแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่ต้องเผชิญได้อย่างมั่นใจอีกทั้งยังสามารถสร้างสรรค์ผลงานใหม่ ๆ ออกมาได้ ตลอดเวลาเพื่อให้มีส่วนสำคัญจะช่วยพัฒนาประเทศอีกทางหนึ่งผู้เรียนสามารถศึกษาวิชาที่ตนเองชอบได้ เช่น
1. สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ เป็นวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ การออกแบบ และสร้างสิ่งประดิษฐ์อุปกรณ์ที่นำเอาความรู้ทางด้านระบบดิจิตอลมาประยุกต์ใช้กับงานต่าง ๆ และวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับการใช้คอมพิวเตอร์
2. สาขาวิศวกรรมเคมี เป็นวิชาชีพที่เกี่ยวกับการออกแบบ จัดสร้างและกระบวนการโรงงานอุตสาหกรรมเคมีต่าง ๆ เช่น อุตสาหกรรมน้ำมัน ปิโตรเลียม พลาสติก ยาง กระดาษและสารเคมีพื้นฐานเช่น กรด ด่าง แก๊ส โดยศึกษาหลักการกระบวนการผลิตต่าง ๆ ที่ทำหนาที่ให้เกิดการเปลี่ยน แปลงในส่วนผสม สถานะ ภาวะ และลักษณะสมบัติของการผลิตไปเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพตามความต้องการอย่างปลอดภัยและประหยัด
3. สาขาวิศวกรรมเครื่องกล เป็นวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา วิเคราะห์และการออกแบบชิ้นส่วน เครื่องจักรและสิ่งประดิษฐ์ ออกแบบแปลนการติดตั้ง ควบคุมการใช้งานตรวจสอบ และบำรุงรักษาเครื่องจักรกล ระบบความเย็น ระบบปรับภาวะอากาศ และระบบประเภทท่อต่าง ๆ
4. สาขาวิศวกรรมเรือ เป็นวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา วิเคราะห์ การออกแบบ รวมทั้งการผลิตและการประกอบพาหนะทางน้ำต่าง ๆ ตลอดจนออกแบบระบบต่าง ๆ ภายในตัวเรือ เช่น ท่าเรือ อู่ต่อเรือ และวิชาชีพที่เกี่ยวกับสาขาอื่น ๆ เช่น วิศวกรรมโยธา เครื่องกล ไฟฟ้า อุตสาหกรรม
5. สาขาวิศวกรรมยานยนต์ เป็นวิชาที่เกี่ยวกับการนำเทคโนโลยีพื้นฐานความรู้ทางวิศวกรรมเครื่องกลมาประยุกต์ใช้ในด้านการออกแบบและด้านการผลิต มีความรู้เกี่ยวกับขั้นตอนการผลิตและรู้จักใช้เครื่องจักรอุปกรณ์ทันสมัยอย่างมีประสิทธิภาพ
6. สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า เป็นวิชาที่เกี่ยวการวิเคราะห์ ออกแบบ และสร้างสิ่งประดิษฐ์อุปกรณ์ และระบบไฟฟ้ากำลัง ไฟฟ้าสื่อสาร อีเล็กทรอนิกส์และระบบควบคุม โดยเน้นหนักทางด้านประสิทธิภาพในการทำงาน ความเชื่อถือได้ ความปลอดภัยและประหยัด
7. สาขาวิศวกรรมโยธาศึกษาเกี่ยวกับการออกแบบโครงสร้างพื้นฐานและระบบสาธารณูปโภคของประเทศ ได้แก่ วิศวกรรมสำรวจ การสำรวจด้วยภาพถ่ายทางอากาศ และภาพถ่ายจากดาวเทียม วิศวกรรมโครงสร้าง เกี่ยวกับหลักกลศาสตร์ของวัสดุและโครงสร้าง การทดสอบคุณสมบัติทาง
กล และกำลังทางวัสดุทางวิศวกรรม การวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้างไม้ เหล็ก
8. สาขาวิศวกรรมโลหการ เป็นศาสตร์และศิลปะในการสกัดโลหะจากสินแร่ของมันแล้วทำให้บริสุทธิ์ยิ่งขึ้น
9. สาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม เกี่ยวข้องกับความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาปรับปรุงสภาวะแวดล้อม และสร้างที่อยู่อาศัยให้เหมาะสมสำหรับการอยู่อาศัยของมนุษย์ ในสาขานี้มี การพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม เพื่อนำมาใช่วางแผนป้องกันและ รณรงค์กับมลภาวะต่าง ๆ ของสภาวะสิ่งแวดล้อม
10. สาขาวิศวกรรมสำรวจ เป็นวิชาที่เกี่ยวกับวางแผน การรังวัด การคำนวณ และวิเคราะห์รายละเอียดของพื้นผิวโลก เพื่อนำมาใช้ในการทำแผนที่แผนผังหรือกำหนดค่าพิกัด เช่น การออกแบบทางหลวงและเขื่อน การรังวัดที่ดิน การชลประทาน
11. สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ ศึกษาเกี่ยวกับการผลิตแร่ซึ่งเป็นทรัพยากรธรรมชาติเพื่อนำมาใช้พัฒนาประเทศ
12. สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม เกี่ยวข้องกับการสำรวจ และผลิตปิโตรเลียม
7. สาขาวิศวกรรมโยธาศึกษาเกี่ยวกับการออกแบบโครงสร้างพื้นฐานและระบบสาธารณูปโภคของประเทศ ได้แก่ วิศวกรรมสำรวจ การสำรวจด้วยภาพถ่ายทางอากาศ และภาพถ่ายจากดาวเทียม วิศวกรรมโครงสร้าง เกี่ยวกับหลักกลศาสตร์ของวัสดุและโครงสร้าง การทดสอบคุณสมบัติทาง
กล และกำลังทางวัสดุทางวิศวกรรม การวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้างไม้ เหล็ก
8. สาขาวิศวกรรมโลหการ เป็นศาสตร์และศิลปะในการสกัดโลหะจากสินแร่ของมันแล้วทำให้บริสุทธิ์ยิ่งขึ้น
9. สาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม เกี่ยวข้องกับความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาปรับปรุงสภาวะแวดล้อม และสร้างที่อยู่อาศัยให้เหมาะสมสำหรับการอยู่อาศัยของมนุษย์ ในสาขานี้มี การพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม เพื่อนำมาใช่วางแผนป้องกันและ รณรงค์กับมลภาวะต่าง ๆ ของสภาวะสิ่งแวดล้อม
10. สาขาวิศวกรรมสำรวจ เป็นวิชาที่เกี่ยวกับวางแผน การรังวัด การคำนวณ และวิเคราะห์รายละเอียดของพื้นผิวโลก เพื่อนำมาใช้ในการทำแผนที่แผนผังหรือกำหนดค่าพิกัด เช่น การออกแบบทางหลวงและเขื่อน การรังวัดที่ดิน การชลประทาน
11. สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ ศึกษาเกี่ยวกับการผลิตแร่ซึ่งเป็นทรัพยากรธรรมชาติเพื่อนำมาใช้พัฒนาประเทศ
12. สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม เกี่ยวข้องกับการสำรวจ และผลิตปิโตรเลียม
แผนและประสานงานระหว่างโรงงานกับฝ่ายบริหารด้วย
14. สาขาวิศวกรรมวัสดุ มุ่งเน้นเนื้อหาทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของวัสดุทั้งการใช้งานและทางอุตสาหกรรมและควบคุมวิชาหลัก ๆ เช่นโครงสร้าง สมบัติ และกระบวนการ
15. วิศวกรรมการบินและอวกาศยาน ศึกษาเกี่ยวกับพื้นฐานวิศวกรรมการบินและอวกาศยาน 3 สาขาซึ่งประกอบด้วยอากาศพลศาสตร์ การขับด้านอากาศยาน ระบบควบคุมอัตโนมัติ และควบคุมการบิน และการออกแบบโครงสร้างอากาศยาน
16. สาขาวิศวกรรมเกษตร ศึกษาพื้นฐานทางด้านวิศวกรรมและสามารถประยุกต์หลักการทางวิศวกรรมในการผลิตทางการเกษตร การแปรสภาพ
และการเก็บรักษาผลผลิตทางการเกษตร ในด้านปริมาณและคุณภาพ
17. สาขาวิศวกรรมอาหาร หลักของวิศวกรรมอาหาร และการแปรสภาพผลผลิตทางการเกษตรให้อยู่ในรูปของอาหาร การเก็บรักษาอาหาร การผลิตอาหารสำเร็จรูปรวมทั้งการออกแบบวิเคราะห์และทดสอบเครื่องจักรกลอาหาร
18. สาขาวิศวกรรมชลประทาน ได้แก่ หลักการชลประทาน การออกแบบชลประทานในไร่นาชนิดต่าง ๆ เช่น การให้น้ำแบบผิวดิน แบบฉีดฝอยและแบบหยด การวางแผนและออกแบบ การส่งน้ำ ระบบสูบน้ำ ระบบระบายน้ำ
19. สาขาวิศวกรรมทรัพยากรน้ำ ศึกษาเกี่ยวกับกลศาสตร์ของของไหล ชลศาสตร์อุทกวิทยา ผิวดินและใต้ดิน วิศวกรรมทรัพยากรน้ำการควบคุมคุณภาพน้ำ
เส้นทางวิศวกรนั้นเลือกได้ 2 ทาง แนวทางแรก เมื่อจบชั้น ม. 3 เลือกศึกษาต่อในระดับม.4-ม.6 สายวิทยาศาสตร์ จะเลือกศึกษาต่อ
ในระดับ ปวช. ประเภทช่างอุตสาหรรม หลังจากนั้นจึงสอบเอนทรานต์ เข้าต่อในวิศวกรรมศาสตร์ แนวทางที่สอง เมื่อจบในชั้น ม. 3 เลือกศึกษาต่อในม.4-ม.6 เลือกต่อในระดับ ปวช.หลังจากนั้นศึกษาต่อในหลักสูตร ปวส.2-3 ปี ประเภทช่างอุตสาหกรรม แล้วศึกษาต่อระดับปริญญาตรี
ต่อเนื่องทางวิศวกรรมศาสตร์
สถาบันที่เปิดสอน
สถาบันศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชนที่เปิดสอนคณะวิศวกรรม เช่น ม.เกษตรศาสตร์ ม.ขอนแก่น ม.อุบลราชธานี ม.กรุงเทพ ม.มหิดล ม.เชียงใหม่ ม.ธรรมศาสตร์ ม.หอการค้าโลก ม.สารคราม ม.ศรีปทุม ม.สยาม ม.รามคำแหง ลาดกระบัง วิทยาลัยเทคโนโลยีราชธานี
ลักษณะทั่วไปของอาชีพ
วิศวกร คือ ผู้นำเอาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้กับปัญหาต่าง ๆ ในลักษณะการคิดค้น การออกแบบ การปรับปรุงการเปลี่ยนแปลงทรัพยากรธรรมชาติต่าง ๆ ที่มีอยู่ เพื่อส่ง เสริมสภาวะแวดล้อมให้เหมาะสมกับความเป็นอยู่ของมนุษย์ การทำงานในวิชาชีพวิศวกรรมแยกได้ดังนี้
1. งานประเภทการสำรวจ ได้แก่ งานแขนงวิศวกรรมสำรวจ วิศวกรรมโยธาทั่วไป
2 .งานประเภทออกแบบ เป็นงานทำในสำนักงาน ถือเป็นหน่วยสมองของงานวิศวกรรมเพราะ มีหน้าที่ ออกแบบสิ่งก่อสร้างทุกประเภท ทั้งอาคารบ้านเรือน สะพาน เขื่อนตลอดจนออกแบบเครื่องจักรกลต่าง ๆ
3. งานประเภทควบคุมและบำรุงรักษา ควบคุมระบบการทำงานของเครื่องกลในสถานที่ต่าง ๆ ตลอดจนการควบคุมการวางแผนปฏิบัติงานด้านวิศวกรรมทุกชนิด
4. งานประเภทวิจัย เป็นงานที่ค้นหว้าแสวงหาความรู้ความก้าวหน้าใหม่ ๆ ในทางวิศวกรรม หรือหาวิธีใหม่ ๆ
5. งานประเภทเผยแพร่ความรู้ หมายถึงการสอนของครู- อาจารย์ ในสถาบันการศึกษา
ในระดับ ปวช. ประเภทช่างอุตสาหรรม หลังจากนั้นจึงสอบเอนทรานต์ เข้าต่อในวิศวกรรมศาสตร์ แนวทางที่สอง เมื่อจบในชั้น ม. 3 เลือกศึกษาต่อในม.4-ม.6 เลือกต่อในระดับ ปวช.หลังจากนั้นศึกษาต่อในหลักสูตร ปวส.2-3 ปี ประเภทช่างอุตสาหกรรม แล้วศึกษาต่อระดับปริญญาตรี
ต่อเนื่องทางวิศวกรรมศาสตร์
สถาบันที่เปิดสอน
สถาบันศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชนที่เปิดสอนคณะวิศวกรรม เช่น ม.เกษตรศาสตร์ ม.ขอนแก่น ม.อุบลราชธานี ม.กรุงเทพ ม.มหิดล ม.เชียงใหม่ ม.ธรรมศาสตร์ ม.หอการค้าโลก ม.สารคราม ม.ศรีปทุม ม.สยาม ม.รามคำแหง ลาดกระบัง วิทยาลัยเทคโนโลยีราชธานี
ลักษณะทั่วไปของอาชีพ
วิศวกร คือ ผู้นำเอาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้กับปัญหาต่าง ๆ ในลักษณะการคิดค้น การออกแบบ การปรับปรุงการเปลี่ยนแปลงทรัพยากรธรรมชาติต่าง ๆ ที่มีอยู่ เพื่อส่ง เสริมสภาวะแวดล้อมให้เหมาะสมกับความเป็นอยู่ของมนุษย์ การทำงานในวิชาชีพวิศวกรรมแยกได้ดังนี้
1. งานประเภทการสำรวจ ได้แก่ งานแขนงวิศวกรรมสำรวจ วิศวกรรมโยธาทั่วไป
2 .งานประเภทออกแบบ เป็นงานทำในสำนักงาน ถือเป็นหน่วยสมองของงานวิศวกรรมเพราะ มีหน้าที่ ออกแบบสิ่งก่อสร้างทุกประเภท ทั้งอาคารบ้านเรือน สะพาน เขื่อนตลอดจนออกแบบเครื่องจักรกลต่าง ๆ
3. งานประเภทควบคุมและบำรุงรักษา ควบคุมระบบการทำงานของเครื่องกลในสถานที่ต่าง ๆ ตลอดจนการควบคุมการวางแผนปฏิบัติงานด้านวิศวกรรมทุกชนิด
4. งานประเภทวิจัย เป็นงานที่ค้นหว้าแสวงหาความรู้ความก้าวหน้าใหม่ ๆ ในทางวิศวกรรม หรือหาวิธีใหม่ ๆ
5. งานประเภทเผยแพร่ความรู้ หมายถึงการสอนของครู- อาจารย์ ในสถาบันการศึกษา
คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพ
1. ควรเป็นผู้ที่มีใจรักงานช่าง มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และถนัดในเครื่องยนต์โลก
2. ควรมีความรู้พื้นฐานที่ดีในหมวดคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์โดยเฉพาะวิชาฟิสิกส์และ การคำนวณ
3. มีการถ่ายทอดความคิดออกมาได้อย่างชัดเจน และเป็นรูปธรรม
4. ควรมีลักษณะเป็นผู้นำ สุขุมเยือกเย็น รอบคอบ และมีความอดทน มีเหตุผลและเชื่อมั่นในตนเอง
5. มีความสำนึกในการรับผิดชอบต่อสังคมส่วนรวม
6. มีคุณธรรม จริยธรรม
แนวทางในการประกอบอาชีพ
1. เป็นวิศวกรรมควบคุมงานก่อสร้างอาคารต่าง ๆ ทางหลวง เขื่อนต่าง ๆ
2. ทำงานด้านวิศวกรรมเกษตรทุกสาขา
3. ทำงานด้านเครื่องจักรและระบบกระแสไฟฟ้า
4. ทำงานในโรงงานอุตสาหกรรม
5. ทำงานเป็นอาจารย์สอนในมหาวิทยาลัย
1. ควรเป็นผู้ที่มีใจรักงานช่าง มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และถนัดในเครื่องยนต์โลก
2. ควรมีความรู้พื้นฐานที่ดีในหมวดคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์โดยเฉพาะวิชาฟิสิกส์และ การคำนวณ
3. มีการถ่ายทอดความคิดออกมาได้อย่างชัดเจน และเป็นรูปธรรม
4. ควรมีลักษณะเป็นผู้นำ สุขุมเยือกเย็น รอบคอบ และมีความอดทน มีเหตุผลและเชื่อมั่นในตนเอง
5. มีความสำนึกในการรับผิดชอบต่อสังคมส่วนรวม
6. มีคุณธรรม จริยธรรม
แนวทางในการประกอบอาชีพ
1. เป็นวิศวกรรมควบคุมงานก่อสร้างอาคารต่าง ๆ ทางหลวง เขื่อนต่าง ๆ
2. ทำงานด้านวิศวกรรมเกษตรทุกสาขา
3. ทำงานด้านเครื่องจักรและระบบกระแสไฟฟ้า
4. ทำงานในโรงงานอุตสาหกรรม
5. ทำงานเป็นอาจารย์สอนในมหาวิทยาลัย
โอกาสความก้าวหน้าในอาชีพ
โอกาสความก้าวหน้าในอาชีพมีอย่างแน่นอน เพราะสามารถพัฒนาตนเองในแนวทางที่ตนเอง
พึ่งพอใจ ซึ่งต่างจากบางอาชีพที่บุคคลก้าวหน้าได้เพราะมีคุณสมบัติเฉพาะในอาชีพนั้นเท่านั้น
ที่สำคัญ คือ การพัฒนาทางด้านอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีของประเทศ
ทำให้วิชาชีพพัฒนาออกไปอย่างไม่มีขีดจำกัด
และพัฒนาวิชาชีพที่เกิดขึ้นเกี่ยวเนื่องจากการพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมเช่นกัน ย่อมทำให้บุคคลในวิชาชีพนี้มีทางเลือกที่จะพัฒนาตัวเองในช่วงระยะเวลาที่
ประกอบอาชีพนี้ให้เหมาะสมกับลักษณะเฉพาะของตนเองได้สูงขึ้น
โอกาสความก้าวหน้าในอาชีพมีอย่างแน่นอน เพราะสามารถพัฒนาตนเองในแนวทางที่ตนเอง
พึ่งพอใจ ซึ่งต่างจากบางอาชีพที่บุคคลก้าวหน้าได้เพราะมีคุณสมบัติเฉพาะในอาชีพนั้นเท่านั้น
ที่สำคัญ คือ การพัฒนาทางด้านอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีของประเทศ
ทำให้วิชาชีพพัฒนาออกไปอย่างไม่มีขีดจำกัด
และพัฒนาวิชาชีพที่เกิดขึ้นเกี่ยวเนื่องจากการพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมเช่นกัน ย่อมทำให้บุคคลในวิชาชีพนี้มีทางเลือกที่จะพัฒนาตัวเองในช่วงระยะเวลาที่
ประกอบอาชีพนี้ให้เหมาะสมกับลักษณะเฉพาะของตนเองได้สูงขึ้น

No comments:
Post a Comment